คุณรู้หรือไม่ ? นอกจากสมเด็จหลวงปู่โต๊ะทุกรุ่น มีเรื่องที่ต้องพิจารณาก่อนตัดสินใจซื้ออีกมากมายไม่ว่าจะเป็นดีไซน์ สี ขนาด ราคา วัสดุที่ใช้และน้ำหนักซึ่งปั จจัยเหล่านี้ขึ้นอยู่กับความชอบและลักษณะ ซึ่งมีทั้ง สมเด็จหลวงปู่โต๊ะทุกรุ่น และการใช้ของแต่ละบุคคล ดังนั้นหากคุณเป็นคนหนึ่งที่กำลังมองหา สมเด็จหลวงปู่โต๊ะทุกรุ่น วันนี้ทางเราได้จัด แนะนำ สมเด็จหลวงปู่โต๊ะทุกรุ่นยี่ห้อดีต่อใจมาให้คุณแล้ว!
2. เหรียญรุ่นแรกหลวงปู่โต๊ะ เนื้อนวโหละกะไหล่ทอง สร้างพ.ศ.๒๕๑๐ พร้อมบัตรรับรองพระแท้
#เหรียญรุ่นแรกหลวงปู่โต๊ะเนื้อนวโหละกะไหล่ทองสร้างพ.ศ.๒๕๑๐ พร้อมบัตรรับรองพระแท้จากทางสมาคมผู้นิยมพระเครื่องพระบูชาไทย #พุทธคุณของเหรียญรุ่นแรก มหาเมตตาใหญ่ มหาเสน่ห์ใหญ่ มากลาภมากล้าโชคลาภ แคล้วคลาดนิรันตรายคุ้มครอง สารพัดกัน กันผีกันของดีเยี่ยม...#หนึ่งในพระที่เศรษฐีต้องมี #ชีวิตจักรุ่งเรืองดุจทองทา ทํามาหากินเจรืญยิ่ง พระราชสังวราภิมณฑ์ (โต๊ะ อินทสุวณณเถร) หรือหลวงปู่โต๊ะ อดีตเจ้าอาวาสวัดประดู่ฉิมพลี เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพฯ ท่านเกิดเมื่อวันที่ ๒๗ มีนาคม พ.ศ.๒๔๓๐ มรณภาพเมื่อวันที่ ๕ มีนาคม ๒๕๒๔ รวมสิริอายุได้ ๙๓ ปี พรรษาที่ ๗๓ หลวงปู่โต๊ะ ออกธุดงค์จาริกไปทั่วทุกภาคในประเทศไทย ทั้งภาคเหนือ ภาคอีสาน ภาคใต้ ท่านไปศึกษาพระปริยัติธรรม โดยไปฝากตัวเป็นศิษย์กับหลวงพ่อรุ่ง วัดท่ากระบือ เรียนวิชาพุทธาคม และฝากตัวเป็นลูกศิษย์กับหลวงพ่อโหน่ง วัดคลองมะดัน และก็ธุดงค์ไปยังภาคเหนือเพื่อศึกษาวิชากับพระอาจารย์อีกหลายท่าน และในขณะที่ท่านเดินธุดงค์ ท่านก็ได้เรียนวิปัสสนากรรมฐานกับหลวงพ่อชุ่ม วัดราชสิทธาราม ส่วนสหธรรมิกของท่านที่มีชื่อเสียงได้แก่ หลวงพ่อปาน วัดบางนมโค หลวงพ่อสด วัดปากน้ํา หลวงพ่อแฉ่ง วัดบางพัง หลวงพ่อกล้าย วัดหงส์รัตนาราม ด้วยวัตรปฏิบัติอันงดงามเป็นที่เคารพศรัทธาของชาวพุทธทุกชนชั้น ท่านถึงพร้อมด้วยบุญบารมีและอิทธิบารมี พระเครื่องของท่านมีปาฏิหาริย์ศักดิ์สิทธิ์ มีประสบการณ์เล่าขานมากมายจรดเหนือจรดใต้ทั่วประเทศไทยจนกลายเป็นพระหลักยอดนิยมของเมืองไทย ประวัติในการสร้างพระเครื่องของหลวงปู่โต๊ะนั้น พระเครื่องชุดแรกสุดของท่านจะมีทั้งหมด ๑๓ พิมพ์ด้วยกัน เช่น พระสมเด็จสามชั้น พิมพ์ขาโต๊ะ, พระสมเด็จพิมพ์เจ็ดชั้น และพระสมเด็จสามชั้นพิมพ์หูบายศรี เป็นต้น หลวงปู่โต๊ะลงมือสร้างด้วยความตั้งใจและปรารถนาจะให้ขลังเป็นพิเศษ โดยพยายามเสาะหาวัตถุอันเป็นมงคลและอาถรรพณ์เวทต่างๆ ที่มีความขลังความศักดิ์สิทธิ์มาทํา และกดพิมพ์ด้วยมือของท่านเองเป็นส่วนใหญ่ ในการกดพิมพ์สร้างพระเครื่องของหลวงปู่โต๊ะนั้น ท่านจะกดพิมพ์ไปเรื่อยๆ เมื่อมีเวลาว่าง โดยไม่ได้เจาะจงว่าจะทําพิมพ์นั้นจํานวนเท่านี้ พิมพ์นี้จํานวนเท่านั้น และพระทั้งหมด ๑๓ พิมพ์ ทําไว้จํานวนเท่าไรหลวงปู่ก็ไม่ได้กําหนดไว้เป็นหลักฐาน ท่านเพียงแต่บอกว่าได้ลงมือสร้างพระมาตั้งแต่ตอนที่ท่านอายุได้ ๓๐ ปีเศษๆ สําหรับภาพพระองค์ครูฉบับนี้เป็น “เหรียญรุ่นแรก หลวงปู่โต๊ สร้าง พ.ศ.๒๕๑๐ เนื้อนวกะไหล่ทอง” ของนายอรรถพล จันทร์มณี หรือ “โอ๊ก พระบ้านแท้” ผู้บริหารศูนย์พระเครื่องเทสโก้ โลตัส ชั้น ๕ โซนใหม่ ซึ่ 6 งมีความเชี่ยวชาญและชํานาญในการดูพระเครื่องสายหลวงปู่โต๊ะทุกรุ่น “โอ๊ก พระบ้านแท้” ให้ข้อมูลว่า เหรียญรุ่นแรกหลวงปู่โต๊ะ พ.ศ.๒๕๑๐ จัดสร้างโดยคุณคงศักดิ์ (สือ) เลิศอนันต์ จัดสร้างขึ้นเนื่องทําบุญฉลองครบรอบอายุหลวงปู่โต๊ะ ๘๐ ปี เหรียญรุ่นนี้ได้ให้กองกษาปณ์ปั๊มขึ้นมา รูปแบบเหรียญรุ่นแรกเป็นพิมพ์รูปไข่ หลวงปู่นั่งสมาธิเต็มองค์มียันต์ อุ อยู่ด้านบน ด้านข้างซ้ายขวาเป็นลายกนก ด้านหลังเป็นยันต์ตรีนิสิงเห และมีการตอกโค้ด “ดอกจัน” บริเวณโบว์เข่าซ้ายทุกเหรียญ จํานวนการสร้างมี ๔ เนื้อ ประกอบด้วย ๑.เนื้อทองคํา สร้าง ๑๗ เหรียญ ๒.เนื้อเงิน สร้าง ๑๒๐ เหรียญ ๓.เนื้อนวะกะไหล่ทอง ๒,๕๐๐ เหรียญและ ๔.เนื้อทองแดงรมดําสร้าง ๓.๐๐๐ เหรียญ สําหรับใครที่สะสมแล้วเจอเหรียญทองแดงรมดํา ตอกโค้ดดอกจันมีโบว์เข่าขวา รุ่นนั้นเรียกว่า รุ่นเสริม สร้าง พ.ศ ๒๕๑
3. เหรียญหลวงปู่โต๊ะ 2511 พระเก่าหายากเปิดแบ่งปันค่ะ
เหรียญหลวงปู่โต๊ะ 2511 พระเก่าหายากเปิดแบ่งปันค่ะ
4. พระสมเด็จขาโต๊ะหลวงปู่ทิม วัดละหารไร่ ปลุกเสกปี 14 ออกวัดไผ่ล้อม #พร้อมบัตรการันตีพระแท้
#พระสมเด็จขาโต๊ะหลวงปู่ทิม วัดละหารไร่ ปลุกเสกปี 14 ออกวัดไผ่ล้อม #พร้อมบัตรการันตีพระแท้จากสมาคมนิตยสารท่าพระจันทร์ #พระชุดนี้ประสบการณ์เด่นด้านค้าขายดีมากๆ เมตตามหานิยม #ชีวิตจักร่มเย็น #ลดปัญหาในชีวิตและการทํางาน คุ้มครองปกป้องสารพัดกัน แคล้วคลาดดีเยี่ยมและมีบันทึกประวัติการสร้างไว้อย่างชัดเจน นิยมสุดอีกรุ่นของวัด น่าบูชาสะสม #เนื้อผงพุทธคุณผสมผงจินดามณีของหลวงปู่ทิม มวลสารจัดสร้างดีเยี่ยม พระสวยเดิม พระชุดวัดไผ่ล้อมนี้หลวงปู่ทิม วัดละหารไร่ ท่านเป็นเจ้าพิธีได้เมตตาปลุกเสกให้เป็นอย่างดี โดยพระคณาจารย์ที่มีอาคมขลังขมังเวท 9 รูป นั่งปรกอธิษฐานจิตปลุกเสกด้วยตลอดคืน มีเหตุอัศจรรย์เกิดขึ้นหลายอย่างในการปลุกเสกพระเครื่องรุ่นนี้บันทึกไว้ คือ ขณะที่หลวงปู่ทิม วัดละหารไร่ นั่งบริกรรมภาวนาอยู่นั้น ช่างภาพถ่ายรูปไม่ติด คือแฟลชไม่ขึ้น ถ่ายอยู่หลายครั้งก็ไม่สําเร็จผล ต้องขออนุญาตท่านก่อนจึงได้ถ่ายติด และการทําพิธีครั้งนี้ตรงกับวันเสาร์ 5 ทั้งหมด คือตั้งแต่เริ่มพิมพ์ เริ่มปลุกเสก และวันสุดท้ายที่ปลุกเสกเดี่ยว ก็ตรงกับวันเสาร์อีกเช่นกัน ที่น่าอัศจรรย์อีกอย่างก็คือเมื่อทําพิธีปลุกเสกถึงเวลาตีห้าดับเทียนชัย ได้มีฝนตกซู่ลงมาประมาณ 1 นาที แล้วก็หยุดตกซึ่งจะเป็นอย่างนี้ทุกคืน
5. สมเด็จหลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี ปี 2518-2522
6. เหรียญหลวงปู่โต๊ะ หลวงปู่โต๊ะ วัดถ้ําสิงโตทอง รุ่น125ปีหลวงปู่โต๊ะ
เหรียญหลวงปู่โต๊ะ รุ่น 125 ปีหลวงปู่โต๊ะ ปลุกเสกวัดถ้ําสิงโตทอง ปี พ.ศ.2555 มาพร้อมกล่องจากวัด มีเลขโค้ดทุกองค์ รับประกันพระแท้
7. พระสมเด็จหลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี กรุแตกเก่าเก็บ ปีลึกมาก
8. สมเด็จคะแนนหลวงปู่โต้ะวัดประดู่ฉิมพลี รุ่นเกศมงคลปี26 รุ่นสุดท้ายที่ทันหลวงปู่ เลี่ยมทองแท้ รับประกันพระแท้ทองแท้
สมเด็จคะแนนหลวงปู่โต้ะวัดประดู่ฉิมพลี รุ่นเกศมงคลปี 26 รุ่นสุดท้ายที่ทันหลวงปู่ เลี่ยมทองแท้ รับประกันพระแท้ทองแท้
9. เหรียญหลวงปู่โต๊ะรุ่นแรก2510 พระเก่าหายากเปิดแบ่งปันค่ะ
เหรียญหลวงปู่โต๊ะรุ่นแรก 2510 พระเก่าหายากเปิดแบ่งปันค่ะ
10. เหรียญหลวงปู่โต๊ะรุ่นแรก เนื้อทองแดง ออกวัดถ้ําสิงโตทอง ปี21 พร้อมบัตรสมาคม
#เหรียญหลวงปู่โต๊ะรุ่นแรก เนื้อทองแดง ออกวัดถ้ําสิงโตทอง ปี 21 #พร้อมบัตรรับรองพระแท้จากทางสมาคมผู้นิยมพระเครื่องพระบูชาไทย ร้อม #พระราชสังวราภิมณฑ์(หลวงปู่โต๊ะ)ท่าน มีสถานที่บําเพ็ญสมณธรรมของท่านอีก ๒ แห่ง คือที่สํานักสงฆ์ถ้ําสิงโตทองแห่งหนึ่ง และที่วัดพระธาตุสบฝาง อําเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งท่านไปสร้างกุฏิไว้อีกแห่งหนึ่ง ที่วัดพระธาตุสบฝางท่านไม่ค่อยได้ไปจึงจะไม่กล่าวถึง จะกล่าวถึงถ้ําสิงโตทองแต่เพียงแห่งเดียว #เมื่อปี พ.ศ ๒๕๑๙ ท่านได้เดินทางไปจังหวัดกาญจนบุรี ได้ไปพบกับพระมานิตย์เข้าพระมานิตย์พูดกับท่านถึงถ้ําสิงโตทอง ที่อําเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี และชวนท่านให้ไปชม หลังจากนั้นท่านก็มีโอกาสได้ไป และไปเห็นว่าสถานที่นั้นเป็นที่สงบสมควรแก่นักปฏิบัติธรรม ทั้งอยู่ไม่ห่างไกลกรุงเทพ ฯ มากนัก ท่านจึงไปอยู่ปฏิบัติธรรมที่ถ้ําสิงโตทองเป็นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ ๒๕๑๐ แล้วเริ่มปรับปรุงให้มีความสะดวก เหมาะสมที่จะตั้งเป็นสํานักปฏิบัติธรรม คือได้สร้างกุฏิสําหรับท่านพักหลังหนึ่ง กุฏิเล็กอีกหลายหลัง ตามไหล่เขาข้างถ้ําสิงโตทอง พร้อมทั้งโรงครัวและที่พัก สําหรับลูกศิษย์ที่ประสงค์จะติดตามไปค้างแรมหาความสงบสุข อยู่กับท่าน ท่านได้สร้างพระพุทธบาทจําลอง พระพุทธรูปแบบและปางต่าง ๆ เช่น แบบพระพุทธชินราช พระปางลีลา ปางมารวิชัย กับรูปเจ้าแม่กวนอิม เชิญไปไว้ที่ถ้ําในบริเวณใกล้ ๆ กันนั้นขึ้นอีกหลายแห่ง ได้เชิญพระพุทธรูปที่ผู้มีศรัทธาสร้างถวาย ไปประดิษฐานไว้ให้สักการะกัน ครั้งหลังที่สุดท่านได้สร้างรูปพระมหากัจจายนะนําไปประดิษฐานไว้ที่หน้าถ้ํา กลาง ต่อมาถึงปี พ.ศ ๒๕๑๙ พระมานิตย์ซึ่งรับหน้าที่ดูแลถ้ําสิงโตทองมรณภาพลง ท่านได้ส่งพระรูปอื่นไปดูแลแทน ได้มีผู้ศรัทธาถวายที่ดินเพิ่มให้อีก ท่านจึงวางโครงการก่อสร้างให้เพิ่มเติมอีก จะสร้างโบสถ์ ศาลาการเปรียญ กุฏิ โรงเรียนเด็กสําหรับลูกชาวไร่ สระน้ํา พร้อมกับซื้อที่บริเวณหน้าถ้ําเติมอีก ๙๐ ไร่เศษ รวมกับเนื้อที่เดิมเป็น ๑๔๐ ไร่ ทําถนนเชื่อมกับถนนส่วนใหญ่ ให้เป็นทางเข้าออกที่สะดวก องค์ท่านควบคุมดูแลการดําเนินงานนี้อย่างใกล้ชิด วัดถ้ําสิงโตทอง เมื่อปีพ.ศ.๒๕๐๙ พระมานิตย์ได้พบกับหลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี กรุงเทพฯและได้ชักชวนหลวงปู่โต๊ะมายังถ้ําสิงโตทอง หลวงปู่เล็งเห็นว่าสถานที่นี้สงบเงียบเหมาะสําหรับเป็นที่ปฏิบัติธรรม จนกระทั่งมีลูกศิษย์รวบรวมทุนทรัพย์ซื้อที่ดินถวายและก่อสร้างวัดถ้ําสิงโตทองแห่งนี้ โดยใช้ชื่อว่า “ที่พักสงฆ์ถ้ําสิงโตทอง” เพื่อเป็นสถานที่ปฏิบัติธรรม ต่อมาได้ดําเนินการขอ อนุญาตต่อกรมการศาสนา และได้รับอนุญาตให้ก่อสร้างวัด เมื่อวันที่ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๒๑ โดยนายวิรัช วงศาโรจน์ เป็น ผู้ขออนุญาตตั้งวัดต่อกรมศาสนา ได้รับการประกาศตั้งวัดเมื่อวันที่ ๒ พฤษภาคม ๒๕๒๗ โดยใช้ชื่อว่า “วัดเขาถ้ําสิงโต” ต่อมาทางวัดได้ขอเปลี่ยนชื่อวัดเป็นชื่อ “วัดถ้ําสิงโตทอง” ตามเดิม ในปี พ.ศ ๒๕๓๓ ศาสตราจารย์ ดร.อุกฤษ ท่านผู้หญิงมณฑินี มงคลนาวิน ดําเนินการก่อสร้างอุโบสถ เป็นอุโบสถที่สร้างเพื่อเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ครบ ๖๐ พรรษา (พ.ศ.๒๕๓๕) เป็นสถาปัตยกรรม พระราชนิยมสมัยรัชกาลที่ ๓ เน้นความเรียบง่ายแต่แข็งแรง สร้างด้วยคอนกรีตเสริมเหล็ก ภายในกรุด้วยไม้สัก เพื่อให้สะดวกแก่การดูแลรักษา โดยดัดแปลงจากแบบเดิมของหลวงปู่โต๊ะ ที่ท่านตั้งใจจะสร้างอุโบสถด้วยไม้ทั้งหลัง โดยให้เหตุผลว่า “จะสร้างให้คนรุ่นหลังดู ต่อไปจะหาไม้สร้างได้ยาก” ซึ่งศาสตราจารย์ ดร.อุกฤษ ท่านผู้หญิงมณฑินี มงคลนาวิน เป็นประธานดําเนินการก่อสร้างจนแล้วเสร็จ ด้วยงบประมาณ ๒๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท (ยี่สิบล้านบาทถ้วน) โดยถือ